คำสั่งอื่นๆ
คำสั่งAt
ตั้งเวลารันกลุ่มคำสั่ง
คำสั่งcpio
ต้องการชื่อเต็ม (full pathname) ดังนั้นถ้าผู้ใช้ทำการอ้างชื่อ ไดเรกทอรีปลายทางแบบ relative
คำสั่งbc
คำสั่งเรียกใช้โปรแกรมคำนวณเลขของระบบ Unix,Linux
คำสั่งbasename
เป็นคำสั่งสำหรับสกัดเอาชื่อไฟล์ไฟล์โดยตัดส่วนขยายชื่อไฟล์ (file extension) .gif ออก
คำสั่งlast
ใช้แสดงรายชื่อผู้ login เข้ามาล่าสุด
คำสั่งcrontab
ตั้งเวลาสั่งงานคอมพิวเตอร์ crontabตั้งเวลารันคำสั่งเป็นรอบเวลาที่กำหนด
คำสั่งdd
ลบบรรทัดปัจจุบันทั้งบรรทัด
คำสั่งdu
แสดงการเนื้อที่ใช้งาน ของแต่ละ directory โดยละเอียด duเป็นการดูเนื้อที่ว่างบนไดเรคทรอรี่ที่ใช้อยู่
คำสั่งdirname
คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname
คำสั่งln
เป็นคำสั่งไว้สร้าง link ไปยังที่ ที่ต้องการ คลายกับ shortcut
คำสั่งenv
แสดงค่า environment ปัจจุบัน
คำสั่งeject
เป็นคำสั่งให้นำคำสั่งที่ตามหลังคำสั่งeject ไปขึ้นหน้าใหม่ ทั้งนี้เพื่อให้แต่ละส่วนของโปรแกรมใหญ่ๆ ขึ้นหน้าใหม่ ส่วนคำสั่ง ejectจะไม่ปรากฏใน Assembly Listing
คำสั่งexec
ที่ใช้ในการแทนค่าตัวแปรแล้วรันคำสั่งแบบพลวัต (dynamicly) บันทึกพฤติกรรมของ exec ไว้
คำสั่งfree
แสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ โครงสร้างคำสั่ง free [-b-k-m] โดย option ที่มักใช้กันใน free คือ -b แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย byte -k แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย kilobyte -m แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย megabyteตัวอย่าง free free -b free -k freeเป็นการแสดงสถานะของเมมโมรี่ และเนื้อที่ว่างบนเมมโมรี่ ทั้งกายภาพ ที่ใช้ ใน swap, และบัฟเฟอร์
คำสั่งgroups
คำสั่งhostname
แสดง/กำหนดชื่อโฮสต์ คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่
คำสั่งlp
คำสั่งmount ของระบบ Unix,Linux
(เป็นคำสั่งเชื่อมต่ออุปกรณ์เข้ากับระบบ)รูบแบบการใช้งาน mount (-t type) DeviceDriver MountPointตัวอย่าง# การ Mount แบบที่1 CdRom mount -t iso9660 /dev/cdrom /mnt/cdromหรือ# mkdir /mnt/cdrom# mount_cd9660 /dev/cd0a /mnt/cdrom#การ Mount CdRomแบบที่2 mount /dev/cdrom (เมื่อmountแล้วCDจะอยู่ที่ /mnt/CdRom ยกเลิกดูคำสั่ง Unmount)
คำสั่งmt
คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่านของ User ของระบบ Unix,Linux ... คำสั่งกำหนดคำสั่งย่อ ของระบบ Unix,Linux
คำสั่งnice
คำสั่งหรือโปรอกรมเข้าสู่เครื่อง ติดต่อ nice หรือ ติดต่อผู้บริหารเว็บไซต์ + Powered by KnowledgeVolution
คำสั่งnohup
คำสั่งnetstat
แสดงสถานะของเครือข่ายว่ามีโปรแกรมใดเปิดให้บริการ
คำสั่งod
แสดงเนื้อหาในไฟล์ไบนารี่
คำสั่งpr
คือส่วนหนึ่งของภาษา HTML. คุณสามารถใช้ BBCode ในข้อความที่คุณพิมพ์. และคุณสามารถยกเลิกการใช้ BBCode ในแต่ละข้อความได้ในแบบฟอร์มกรอกข้อความ. BBCode มีรูปแบบคล้ายๆกับภาษา HTM
คำสั่งdf
ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]ตัวอย่าง df [Enter]
คำสั่ง printf
รับค่าตัวแรกเป็นข้อความที่จัดรูปแบบการแสดงผล และรับรายการของข้อมูลที่ต้องการแสดงผลถัดไป.รูปแบบการแสดงผลจะถูกระบุโดยเครื่องหมาย % ตามด้วยอักษรแสดงรูปแบบ. ในกรณีนี้ %d ระบุว่าเราจะพิมพ์ตัวเลขฐานสิบ
คำสั่ง df
ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]ตัวอย่าง df [Enter]
คำสั่งPrintenv
คำสั่งนี้จะแสดงค่าตัวแปลสภาพ แวดล้อม. ตัวอย่าง:. -เซ็ตค่าตัวแปรสภาพแวดล้อม. จะใช้คำสั่ง ‘setenv’
คำสั่งpg
เป็นคำสั่งใช้แสดง content ของไฟล์ ทั้งหมดทีละจอภาพ ถ้าต้องการแสดงหน้า ถัดไป ต้องกด แป้น enter; รูปแบบ. pg filename
Quota
คำสั่งrlogin
ใช้เพื่อเปิดการเชื่อมต่อ ด้วย rlogin. rsh. ใช้เพื่อ execute คำสั่งแบบ Remote (การใช้คำสั่งทำงานบน Host อื่นแบบ Remote)
URL
http://www.isinthai.com/?q=0203
http://www.logicdream.com/spip.php?article5
http://www.cs.ssru.ac.th/jutamas/internet/telnet.php
http://pibul2.psru.ac.th/~orathai/Lesson4/Write.php
คำสั่งเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร
คำสั่ง telnet : เป็นคำสั่งดั่งเดิมบนระบบ Unix ซึ่งมีประโยชย์อย่างมากในการที่จะทำให้ยูสเซอร์ซึ่งอยู่ที่ใดๆก็ตามในเน็ตเวิร์กหรืออินเตอร์เน็ต สามารถที่จะรีโมตเข้ามาเพื่อใช้งานเซิร์ฟเวอร์ได้ ซึ่งในระบบ Unix นั้น การกระทำภาระกิจต่างๆจะกระทำโดยใช้คำสั่งทีละบรรทัด
คำสั่ง telnet จะพูดคุยกับเซิร์ฟเวอร์ปลายทางด้วยโปรโตคอล telnet ซึ่งโปรโตคอล telnet จะวิ่งอยู่บนโปรโตคอล TCP อีกทีหนึ่งโดยใช้หมายเลขพอร์ตเบอร์ 23 คำสั่ง ping : เป็นคำสั่งพื้นฐานที่สุดคำสั่งหนึ่งสำหรับเรื่องเน็ตเวิร์ก
คำสั่งpingเป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบเวลาที่ใช้ในการเดินทางของแพ็กเก็ตระหว่างต้นทางกับปลายทางคือมันจะส่งแพ็กเก็ตให้วิ่งออกไปแล้วเริ่มจับเวลาพอเครื่องปลายทางได้รับแพ็กเก็ตก็จะตอบกลับมาทันที เมื่อกลับมาถึงต้นทางก็จะหยุดจับเวลาแล้วนำเวลาทั้งสองมาลบกัน เพื่อที่จะได้ทราบเวลาที่แพ็กเก็ตใช้เวลาเดินทางไป
คำสั่ง ftp :เป็นคำสั่งที่ใช้ถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่ง โดยการติดต่อกับ host ที่เป็น ftp นั้นจะต้องมี user name และมี password ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว
คำสั่ง lynx : Text browser ที่ใช้งานง่าย ใช้ดู source หรือ download ได้
คำสั่ง write: ใช้ส่งข้อความไปปรากฎที่หน้าจอของเครื่องที่ระบุในคำสั่งไม่สามารถใช้ข้าม host ได้
คำสั่ง Write : จะเป็นการแสดงค่าของตัวแปรหรือข้อมูลออกทางจอภาพ เครื่องพิมพ์ หรือ นำไปเก็บไว้ที่แฟ้มข้อมูล URL
http://www.cs.ssru.ac.th/jutamas/internet/telnet.php
http://pibul2.psru.ac.th/~orathai/Lesson4/Write.php
คำสั่งสำรองข้อมูล
คำสั่ง Tar : เป็นคำสั่งเพื่อการ backup และ restore file ทั้งนี้การ tar จะเก็บทั้งโครง สร้าง directory และ file permission ด้วย
คำสั่ง Gzip : ใช้ zip หรือ Unzip ไฟล์ packet โดยมากแล้วจะเป็น .tar
คำสั่ง Gunzip : เป็นการบีบอัดไฟล์หรือขยายบีบอัดไฟล์
URL
http://blog.gootum.com/linux-blog/command-linux-unix
http://www.expert2you.com/view_article.php?art_id=947
คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการไฟล์
คำสั่ง ls : ใช้แสดงรายชื่อแฟ้มทั้งหมดใน home direct
คำสั่ง cd : เป็นคำสั่งที่ใช้เปลี่ยนไปยังไดเรคทอรีย่อยของเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง ที่ต้องการ
คำสั่ง pwd : แสดง directory ที่เราอยู่ปัจจุบัน
คำสั่ง File : คำสั่งเกี่ยวกับการจัดเก็บและเรียกใช้ไฟล์ต่างๆ
คำสั่ง Mv : ใช้ในการย้ายที่อยู่ (Move) หรือเปลี่ยนชื่อ (Rename) ไฟล์หรือ ไดเรคเทอรี. รูปแบบการใช้งาน
คำสั่ง MKdir : คำสั่งนี้เป็นคำสั่งในการสร้าง directory ขึ้นมา
คำสั่ง Rm : เป็นคำสั่งที่ใช้ลบข้อมูล file ข้อมูล เกิดได้หลายกรณี เช่น เกิดจากการ ftp ขึ้นมาวางไว้
คำสั่ง Rmdir : เป็นคำสั่งสำหรับการลบไดเร็คทอรี่ รูปแบบ: rmdir directory_name คือ ชื่อไดเร็คทอรี่ที่ต้องการลบ
คำสั่ง Chown : ใช้สำหรับเปลี่ยนเจ้าของแฟ้มข้อมูล
คำสั่ง Chgrp : ใช้สำหรับเปลี่ยนกลุ่มเจ้าของแฟ้มข้อมูลหรือ Directory โครงสร้างคำสั่ง
URL
http://www.agri.ubu.ac.th/sura/IDRISI/Lab1-2.htm
http://www.logicdream.com/spip.php?article5
คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการโปรเซส
คำสั่ง ps แสดง process ที่กำลังทำงานอยู่ทั้งของเครื่อง และตนเอง
คำสั่ง kill ยกเลิก process ที่ทำงานอยู่
คำสั่ง Fg การทำงานของ process ที่หยุดลงไปกลับคืนมาทำงานต่อ
คำสั่ง jobs ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับกำหนดควบคุม การรับส่งผ่านข้อมูลของ Firewall)
**********URL**********
http://www.isinthai.com/?q=0203http://www.laozaa.com/board/index.php?topic=158.0
วันจันทร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2551
วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
การใช้โปรแกรม VMware
VMware เป็นชื่อของโปรแกรมจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ (virtual machine) บนเครื่องคอมพิวเตอร์หลักที่เราใช้งานอยู่ประจำ โดยโปรแกรมดังกล่าวจะทำให้ดูเสมือนกับว่า เรามีเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องซ้อนอยู่ในเครื่องเดียวกัน VMware เป็นโปรแกรมที่กลุ่มผู้ใช้ลีนุกซ์ในบ้านเรารู้จักดี เพราะเป็นโปรแกรมที่ช่วยให้เราสามารถจับภาพหน้าจอของโปรแกรมดำเนินการติดตั้งของลีนุกซ์ได้ ส่วนวิธีการจะเป็นอย่างไรนั้น ต้องติดตามครับ
VMware เป็นผลิตภัณฑ์ของ VMware, Inc. โดยผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม VMware จะมีด้วยกันหลายลักษณะ และหลายเวอร์ชัน สำหรับรุ่นที่นำมาทดสอบเป็น VMware Workstation 3.0 จะมี 2 แบบ คือ
แบบแรก เป็น VMware Workstation สำหรับติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ไมโครซอฟท์วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการหลักของเครื่อง (host)
แบบที่สอง เป็น VMware Workstation สำหรับติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการหลักของเครื่อง โดยรุ่นที่ติดตั้งบนไมโครซอฟท์วินโดวส์ จะต้องเป็นวินโดวส์ เอ็นที 4.0 วินโดวส์ 2000 หรือ เอ็กซ์พี เท่านั้น สำหรับเวอร์ชันทดลองสามารถดาวน์โหลดได้ที่ www. vmware.com โดยต้องดาวน์โหลดชุดติดตั้งของโปรแกรม VMware Workstation สำหรับติดตั้งบนลีนุกซ์ หรือวินโดวส์ แล้วแต่กรณี และต้องลงทะเบียนเพื่อขอซีเรียลนัมเบอร์ (serial number) มาด้วย โดยซีเรียลนัมเบอร์ดังกล่าวจะเป็นซีเรียลนัมเบอร์สำหรับทดลองใช้งาน (30 วัน) นอกจากนี้ควรจะดาวน์โหลด Drivers & Patches และ VMware tools มาด้วย เพราะเราอาจต้องใช้ในภายหลัง
สำหรับระบบปฏิบัติการที่เราสามารถติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์จำลอง เกิดจากการทำงานของ VMware ที่เป็นได้ทั้งไมโครซอฟท์ วินโดวส์ มี, ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ เอ็กซ์พี และระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ ซึ่งควรจะเป็นรุ่นที่ใช้เคอร์แนล (kernel) ตั้งแต่ เวอร์ชัน 2.4.7 ขึ้นไป โดยลีนุกซ์ที่ผ่านการทดสอบแล้ว ได้แก่ RedHat linux 7.1, SuSe 7.2 หรือ Linux Mandrake 8.0 เป็นต้น
VMware เป็นผลิตภัณฑ์ของ VMware, Inc. โดยผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม VMware จะมีด้วยกันหลายลักษณะ และหลายเวอร์ชัน สำหรับรุ่นที่นำมาทดสอบเป็น VMware Workstation 3.0 จะมี 2 แบบ คือ
แบบแรก เป็น VMware Workstation สำหรับติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ไมโครซอฟท์วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการหลักของเครื่อง (host)
แบบที่สอง เป็น VMware Workstation สำหรับติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการหลักของเครื่อง โดยรุ่นที่ติดตั้งบนไมโครซอฟท์วินโดวส์ จะต้องเป็นวินโดวส์ เอ็นที 4.0 วินโดวส์ 2000 หรือ เอ็กซ์พี เท่านั้น สำหรับเวอร์ชันทดลองสามารถดาวน์โหลดได้ที่ www. vmware.com โดยต้องดาวน์โหลดชุดติดตั้งของโปรแกรม VMware Workstation สำหรับติดตั้งบนลีนุกซ์ หรือวินโดวส์ แล้วแต่กรณี และต้องลงทะเบียนเพื่อขอซีเรียลนัมเบอร์ (serial number) มาด้วย โดยซีเรียลนัมเบอร์ดังกล่าวจะเป็นซีเรียลนัมเบอร์สำหรับทดลองใช้งาน (30 วัน) นอกจากนี้ควรจะดาวน์โหลด Drivers & Patches และ VMware tools มาด้วย เพราะเราอาจต้องใช้ในภายหลัง
สำหรับระบบปฏิบัติการที่เราสามารถติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์จำลอง เกิดจากการทำงานของ VMware ที่เป็นได้ทั้งไมโครซอฟท์ วินโดวส์ มี, ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ เอ็กซ์พี และระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ ซึ่งควรจะเป็นรุ่นที่ใช้เคอร์แนล (kernel) ตั้งแต่ เวอร์ชัน 2.4.7 ขึ้นไป โดยลีนุกซ์ที่ผ่านการทดสอบแล้ว ได้แก่ RedHat linux 7.1, SuSe 7.2 หรือ Linux Mandrake 8.0 เป็นต้น
.....การใช้งาน VMWare เพื่อการติดตั้ง linux มีหลักการง่ายๆ ว่า ควรสร้างตัวเครื่องจักรเสมือน (Virtual Machine)ให้มีคุณสมบัติเป็นเครื่องพีซีรุ่นธรรมดามากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยเลือก customize เองให้มากที่สุดลองนำตัวอย่างตามขั้นตอนต่อไปนี้ไปใช้ได้ทันที (สำหรับ VMWare 5.x)
1. ที่หน้าแรกของ VMWare ให้เลือกไอค่อน New Virtual Machine
2. หน้าจอต้อนรับ คลิ๊ก Next
3. เลือก custom เพื่อที่จะได้เลือกได้เองมากที่สุด
4. เลือก Legacy จะได้ทำให้ได้เครื่องรุ่นเก่าๆ สมใจ
5. มีตัวเลือก Linux ก็จริงแต่ไม่เอาครับ เลือก Other
6. ตั้งชื่อเครื่องตามใจชอบและเลือกที่เก็บตัว VM ให้มีเนื้อที่มากพอ
7. ปรับขนาดของ RAM ที่จะให้เจ้า VM ตัวนี้ใช้งานได้ (ควรมากกว่า 192MB)
8. การเชื่อมต่อกับโลกภายนอกให้เลือก Use bridge networking
9. จำลองระบบควบคุมดิสก์ SCSI เป็นแบบ Bus Logic
10. สร้างเนื้อที่ดิสก์ใหม่ขึ้นมา
11. จะจำลองให้ลีนุกซ์ใช้แบบ IDE จะติดตั้งง่ายดีครับ
12. จองเนื้อที่ดิสก์จริงๆ ไว้เลยซัก 8 GB
13. ตั้งชื่อไฟล์ได้เองครับ หรือจะใช้ชื่อนี้เลยก็ได้
14. vmware จะเริ่มจับจองเนื้อที่ดิสก์ไว้ให้ลีนุกซ์ของเรา
15. สำเร็จแล้ว เริ่มเปิดพีซีจำลองเพื่อเริ่มติดตั้งลีนุกซ์ค่ายไหนๆ ก็ได้ทั้งนั้น
URL
การใช้โปรแกรม Adobe Captivate
Adobe Captivate เป็นโปรแกรมที่แม้จะเกิดได้มาไม่นานนัก แต่ถือได้ว่ามีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด จัดเป็น โปรแกรมสำหรับใช้ในการสร้างสื่อเพื่อการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ไม่ว่าด้วยศักยภาพของตัว Captivate เอง หรือใช้ร่วมกับโปรแกรมอื่นๆ อาทิ Acrobat Connect Pro, Adobe Presenter, Adobe RoboHelp, Adobe Contribute, Adobe Flash, Adobe (Macromedia) Authorware, Adobe Director, Adobe Flash, Adobe Dreamweaver ..เป็นต้น ซึ่งโปรแกรม Captivate ก็ทำได้อย่างสมบูรณ์ ดังนั้น Captivate จึงมีการพัฒนา tool สนับสนุนเพิ่มเติมศักยภาพอยู่ตลอดเวลาในรูปของ Template หรือ Add-on ต่างๆ ท่านสามารถเข้าไปศึกษาและ download สิ่งต่างๆเหล่านี้ได้ที่ : Adobe Captivate Exchange และเพิ่มเติมความรู้ เทคนิควิธีการใหม่ๆได้ที่ Adobe Captivate training และ Adobe Captivate Forums
Adobe Captivate 3.0 ปัจจุบันสื่อเรียนรู้หรือสื่อการนําเสนอมีรูปแบบที่หลากหลาย ทั้งสื่อแบบข้อความ รูปภาพ เสียงภาพเคลื่อนไหว สื่อมัลติมีเดีย ที่บรรจุอยู่ในแผ่นซีดี หรือเผยแพร่ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งโปรแกรมที่นํามาสร้างสื่อเรียนรู้หรือสื่อนําเสนอแบบมัลติมีเดียที่เรารู้จักนั้นมีมากมายหลายโปรแกรม เช่น Office TLEImpress, Microsoft PowerPoint, Macromedia Authorware, Macromedia Flash ฯลฯ โปรแกรมเหล่านี้จะต้องใช้เวลาในการเรียนรู้เพื่อพอสมควรจึงจะสร้างงานออกมาได้ ทําความรู้จัก Adobe Captivate 3.0 โปรแกรม Adobe Captivate 3.0 เป็นผลิตภัณฑ์น้องใหม่จากค่าย Adobe ที่ถูกพัฒนาขึ้น มาเพื่อสนับสนุนการสร้าง Movie ในรูปแบบสื่อเรียนรู้ หรือสื่อการนําเสนอแบบมัลติมีเดีย เช่น การนําเสนอผลงาน การจับหน้าจอภาพเพื่อนําไปสร้างสื่อเรียนรู้ การสร้างแบบทดสอบ รวมไปถึงการตัดต่อวิดีโอเพื่อใช้สําหรับงานนําเสนอหรือผลิตสื่อเรียนรู้ โดยโปรแกรม Adobe Captivate 3.0 เป็นโปรแกรมที่ใช้สร้างชิ้นงานได้ง่ายและเร็ว จุดเด่นของโปรแกรม Adobe Captivate3.0 • สร้างสื่อเรียนรู้หรือสื่อนําเสนอมัลติมีเดียได้อย่างง่ายดาย • ตัดต่อวิดีโอได้ทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว • สร้างสื่อเรียนรู้โดยการจับหน้าจอภาพ (Screen capture movie) ประกอบเสียงบรรยาย • เหมาะสําหรับการนําไปใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน • สร้างแบบทดสอบได้ง่าย(ทำข้อสอบแบบ random ได้แล้ว สำหรับเวอร์ชั่นนี้) • นําเข้าไฟล์จากแหล่งต่างๆ ได้หลากหลาย ไฟล์รูปภาพ (Image) เช่น JPG, BMP, GIF ไฟล์เสียง (Sound) เช่น MP3, WAV เสียงบรรยายผ่านไมโครโฟน ไฟล์วิดีโอ (Video) เช่น AVI สไลด์จากโปรแกรม Microsoft Power Point (.PPT) Captivate 3.0 • ส่งออกไฟล์ได้หลายรูปแบบ Flash movie File (.swf) ลักษณะเช่นเดียวกับโปรแกรม Macromedia Flash HTML File (.html) สําหรับการนําไปใช้กับเว็บไซต์ EXE File (.exe) สําหรับการนําไปใช้แบบ Stand alone คือ การแสดงผลโดยไม่ต้องติดตั้งโปรแกรม Adobe captivate
URL
http://www.mindphp.com/forums/viewtopic.php?t=2425
http://www.northeducation.ac.th/elearning/learning_program/captivate/cap_intro/cap_update.html
Adobe Captivate 3.0 ปัจจุบันสื่อเรียนรู้หรือสื่อการนําเสนอมีรูปแบบที่หลากหลาย ทั้งสื่อแบบข้อความ รูปภาพ เสียงภาพเคลื่อนไหว สื่อมัลติมีเดีย ที่บรรจุอยู่ในแผ่นซีดี หรือเผยแพร่ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งโปรแกรมที่นํามาสร้างสื่อเรียนรู้หรือสื่อนําเสนอแบบมัลติมีเดียที่เรารู้จักนั้นมีมากมายหลายโปรแกรม เช่น Office TLEImpress, Microsoft PowerPoint, Macromedia Authorware, Macromedia Flash ฯลฯ โปรแกรมเหล่านี้จะต้องใช้เวลาในการเรียนรู้เพื่อพอสมควรจึงจะสร้างงานออกมาได้ ทําความรู้จัก Adobe Captivate 3.0 โปรแกรม Adobe Captivate 3.0 เป็นผลิตภัณฑ์น้องใหม่จากค่าย Adobe ที่ถูกพัฒนาขึ้น มาเพื่อสนับสนุนการสร้าง Movie ในรูปแบบสื่อเรียนรู้ หรือสื่อการนําเสนอแบบมัลติมีเดีย เช่น การนําเสนอผลงาน การจับหน้าจอภาพเพื่อนําไปสร้างสื่อเรียนรู้ การสร้างแบบทดสอบ รวมไปถึงการตัดต่อวิดีโอเพื่อใช้สําหรับงานนําเสนอหรือผลิตสื่อเรียนรู้ โดยโปรแกรม Adobe Captivate 3.0 เป็นโปรแกรมที่ใช้สร้างชิ้นงานได้ง่ายและเร็ว จุดเด่นของโปรแกรม Adobe Captivate3.0 • สร้างสื่อเรียนรู้หรือสื่อนําเสนอมัลติมีเดียได้อย่างง่ายดาย • ตัดต่อวิดีโอได้ทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว • สร้างสื่อเรียนรู้โดยการจับหน้าจอภาพ (Screen capture movie) ประกอบเสียงบรรยาย • เหมาะสําหรับการนําไปใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน • สร้างแบบทดสอบได้ง่าย(ทำข้อสอบแบบ random ได้แล้ว สำหรับเวอร์ชั่นนี้) • นําเข้าไฟล์จากแหล่งต่างๆ ได้หลากหลาย ไฟล์รูปภาพ (Image) เช่น JPG, BMP, GIF ไฟล์เสียง (Sound) เช่น MP3, WAV เสียงบรรยายผ่านไมโครโฟน ไฟล์วิดีโอ (Video) เช่น AVI สไลด์จากโปรแกรม Microsoft Power Point (.PPT) Captivate 3.0 • ส่งออกไฟล์ได้หลายรูปแบบ Flash movie File (.swf) ลักษณะเช่นเดียวกับโปรแกรม Macromedia Flash HTML File (.html) สําหรับการนําไปใช้กับเว็บไซต์ EXE File (.exe) สําหรับการนําไปใช้แบบ Stand alone คือ การแสดงผลโดยไม่ต้องติดตั้งโปรแกรม Adobe captivate
URL
http://www.mindphp.com/forums/viewtopic.php?t=2425
http://www.northeducation.ac.th/elearning/learning_program/captivate/cap_intro/cap_update.html
วันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
VMWare คืออะไร?
VMWare คืออะไร?
........โปรแกรม VMWare เป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่ ตัวอย่างเช่นในรูปที่ 2 เป็นรูปที่แสดงถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ลงระบบปฏิบัติการ Windows XP อยู่เดิม แล้วทำการลงระบบปฏิบัติการ Windows NT ผ่านโปรแกรม VMWare อีกทีหนึ่ง ซึ่งเมื่อลงแล้ว ทั้งสองระบบสามารถทำงานพร้อมกันได้โดยแยกจากกันค่อนข้างเด็ดขาด (เสมือนเป็นคนละเครื่อง) โดยคอมพิวเตอร์เสมือนที่สร้างขึ้นมานั้น จะมีสภาพแวดล้อมเหมือนกับคอมพิวเตอร์จริงๆ เครื่องหนึ่ง ซึ่งจะประกอบด้วย พื้นที่ดิสก์ที่ใช้ร่วมกับพื้นที่ดิสก์ของเครื่องนั้นๆ การ์ดแสดงผล การ์ดเน็ตเวิร์ก พื้นที่หน่วยความจำซึ่งจะแบ่งการทำงานมาจากหน่วยความจำของเครื่องนั้นๆ เช่นกัน ปัจจุบันโปรแกรม VMWare มีเวอร์ชันทั้งสำหรับการทำงานบน Windows และ Linux หากเครื่องท่านเป็น Windows ก็สามารถลองเวอร์ชันสำหรับ Windows ได้ โดยท่านสามารถเข้าไปโหลดโปรแกรมมาทดลองใช้งานได้ที่ URL http://www.vmware.com แล้วเลือกที่ download และทำการดาวน์โหลด VMWare Workstation ซึ่งจะมีเวลาให้ทดลองใช้งานอยู่ที่ 30 วัน คุณสมบัติขั้นต่ำของเครื่องคอมพิวเตอร์ - CPU ความเร็วไม่ต่ำกว่า 500 MHz - หน่วยความจำขั้นต่ำ 256 MB - การ์ดแสดงผลแบบ 16 บิต หรือ 32 บิต - พื้นที่ดิสก์ในการลงโปรแกรม 80 MB สำหรับเวอร์ชัน Linux และ 150 MB สำหรับ Windows - พื้นที่ดิสก์ขนาดไม่ต่ำกว่า 1 GB ต่อการลงระบบปฎิบัติการ 1 ระบบ สำหรับข้อจำกัดของการทำงานบน VMWare ก็คือ VMWare จะสร้างสภาพแวดล้อมของฮาร์ดแวร์ต่างๆ ซึ่งเป็นของตัวโปรแกรม VMWare เอง ดังนั้นการใช้ฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์หลักและคอมพิวเตอร์เสมือนจะไม่เหมือนกัน จึงไม่สามารถที่จะติดตั้งไดรเวอร์ของฮาร์ดแวร์จริงๆ ให้กับคอมพิวเตอร์เสมือนที่ลงผ่านโปรแกรม VMWare ได้ ขอบอกไว้ก่อนนิดนึงสำหรับการใช้โปรแกรมนี้ว่า โปรแกรมจะแบ่งหน่วยความจำของเครื่องหลักไปใช้ด้วย หากหน่วยความจำของเครื่องมีขนาดไม่มากเพียงพอ ก็อาจทำให้เครื่องทำงานช้าลงมาก ดังนั้นหากมีหน่วยความจำเยอะหน่อย การทำงานของโปรแกรมนี้ก็จะดีขึ้นเยอะครับ... สุดท้ายนี้ก็อยากให้ทุกท่านได้ลองโหลดกันมาลองเล่นดู รับรองว่าทั้งมือใหม่มือเก่าจะทึ่งถึงความสามารถของโปรแกรมนี้ สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมอีกมากมายของโปแกรมนี้ สามารถอ่านได้ที่ http://www.vmware.com .../... หวังว่าท่านจะได้ไอเดียดีดีจากการใช้โปรแกรมนี้ไปไม่มากก็น้อย
URL ; http://learners.in.th/blog/os-pam/2197
........โปรแกรม VMWare เป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่ ตัวอย่างเช่นในรูปที่ 2 เป็นรูปที่แสดงถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ลงระบบปฏิบัติการ Windows XP อยู่เดิม แล้วทำการลงระบบปฏิบัติการ Windows NT ผ่านโปรแกรม VMWare อีกทีหนึ่ง ซึ่งเมื่อลงแล้ว ทั้งสองระบบสามารถทำงานพร้อมกันได้โดยแยกจากกันค่อนข้างเด็ดขาด (เสมือนเป็นคนละเครื่อง) โดยคอมพิวเตอร์เสมือนที่สร้างขึ้นมานั้น จะมีสภาพแวดล้อมเหมือนกับคอมพิวเตอร์จริงๆ เครื่องหนึ่ง ซึ่งจะประกอบด้วย พื้นที่ดิสก์ที่ใช้ร่วมกับพื้นที่ดิสก์ของเครื่องนั้นๆ การ์ดแสดงผล การ์ดเน็ตเวิร์ก พื้นที่หน่วยความจำซึ่งจะแบ่งการทำงานมาจากหน่วยความจำของเครื่องนั้นๆ เช่นกัน ปัจจุบันโปรแกรม VMWare มีเวอร์ชันทั้งสำหรับการทำงานบน Windows และ Linux หากเครื่องท่านเป็น Windows ก็สามารถลองเวอร์ชันสำหรับ Windows ได้ โดยท่านสามารถเข้าไปโหลดโปรแกรมมาทดลองใช้งานได้ที่ URL http://www.vmware.com แล้วเลือกที่ download และทำการดาวน์โหลด VMWare Workstation ซึ่งจะมีเวลาให้ทดลองใช้งานอยู่ที่ 30 วัน คุณสมบัติขั้นต่ำของเครื่องคอมพิวเตอร์ - CPU ความเร็วไม่ต่ำกว่า 500 MHz - หน่วยความจำขั้นต่ำ 256 MB - การ์ดแสดงผลแบบ 16 บิต หรือ 32 บิต - พื้นที่ดิสก์ในการลงโปรแกรม 80 MB สำหรับเวอร์ชัน Linux และ 150 MB สำหรับ Windows - พื้นที่ดิสก์ขนาดไม่ต่ำกว่า 1 GB ต่อการลงระบบปฎิบัติการ 1 ระบบ สำหรับข้อจำกัดของการทำงานบน VMWare ก็คือ VMWare จะสร้างสภาพแวดล้อมของฮาร์ดแวร์ต่างๆ ซึ่งเป็นของตัวโปรแกรม VMWare เอง ดังนั้นการใช้ฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์หลักและคอมพิวเตอร์เสมือนจะไม่เหมือนกัน จึงไม่สามารถที่จะติดตั้งไดรเวอร์ของฮาร์ดแวร์จริงๆ ให้กับคอมพิวเตอร์เสมือนที่ลงผ่านโปรแกรม VMWare ได้ ขอบอกไว้ก่อนนิดนึงสำหรับการใช้โปรแกรมนี้ว่า โปรแกรมจะแบ่งหน่วยความจำของเครื่องหลักไปใช้ด้วย หากหน่วยความจำของเครื่องมีขนาดไม่มากเพียงพอ ก็อาจทำให้เครื่องทำงานช้าลงมาก ดังนั้นหากมีหน่วยความจำเยอะหน่อย การทำงานของโปรแกรมนี้ก็จะดีขึ้นเยอะครับ... สุดท้ายนี้ก็อยากให้ทุกท่านได้ลองโหลดกันมาลองเล่นดู รับรองว่าทั้งมือใหม่มือเก่าจะทึ่งถึงความสามารถของโปรแกรมนี้ สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมอีกมากมายของโปแกรมนี้ สามารถอ่านได้ที่ http://www.vmware.com .../... หวังว่าท่านจะได้ไอเดียดีดีจากการใช้โปรแกรมนี้ไปไม่มากก็น้อย
URL ; http://learners.in.th/blog/os-pam/2197
วันพุธที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2551
คำสั่ง Unix
คำสั่ง Unix
1.คำสั่ง man เป็นคำสั่งที่เป็นคู่มือการใช้คำสั่งแต่ละคำสั่งเช่น$ man ls$ man cp
2.คำสั่ง alias ใช้ย่อคำสั่งให้สั้นลง $ alias l = ls -l$ alias c = clear
3.คำสั่ง cal เป็นคำสั่งที่ใช้แสดง ปฏิทินของระบบ
4.คำสั่ง clear มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง cls ของ dos ใช้ลบหน้าจอ terminal ให้ว่าง$ clear
5.คำสั่ง cmp เปรียบเทียบไฟล์สองไฟล์
6.คำสั่ง cat มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง type ของ dos ใช้ดูข้อมูลในไฟล์ เช่น$ cat filename
7.คำสั่ง cut
8.คำสั่ง date ใช้แสดง วันที่ และ เวลา$ date 17 May 1999
9.คำสั่ง diff ใช้เปรียบเทียบไฟล์สองไฟล์ว่ามีความกว้างห้องต่างกันอย่างไร
10.คำสั่ง echo $ echo "Hello" ใช้แสดงข้อความ "Hello" ขนาดปกติ
11.คำสั่ง exit คำสั่งที่ใช้ในการออกจาก shell ที่เรกำลังใช้งานอยู่
12.คำสั่ง expv ประมวลคำจากสูตรคณิตศาสตร์
13.คำสั่ง find ใช้ค้นหาไฟล์ที่ต้องการ เช่น $ find /usr/bin -name "*sh" -print หาไฟล์ที่ลงท้ายด้วย sh จาก /usr/bin
14.คำสั่ง finger ใช้แสดงรายละเอียดของผู้ใช้
15.คำสั่ง grep ใช้คนหาข้อความที่ต้องการจากไฟล์ $ grep ข้อความ file
16.คำสั่ง head จะแสดงส่วนหัวของแฟ้มข้อมูล ตามจำนวนบรรทัดที่ต้องการ
17.คำสั่ง more แสดงข้อมูลทีละหน้าจอ อาจใช้ร่วมกับเครื่องหมาย pipe line ( ) หากต้องการดูหน้าถัดไป กด space ดูบรรทัดถัดไปกด Enter เช่น$ ls -la more$ more filename
18.คำสั่ง less เป็นการพัฒนาคำสั่ง more ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจาก more จะไม่สามารถดูข้อมูลย้อนหลังได้ less จึงเป็นปรับปรุงและเพิ่มเติมเงื่อนไขบางอย่างให้ more
19.คำสั่ง passwd เปลี่ยน passwovd คนทำงานปัจจุบัน
20.คำสั่ง sort ใช้เพื่อทำการจัดเรียงข้อมูลในแฟ้มตามลำดับ (ทั้งนี้จะถือว่าข้อมูลแต่ละบรรทัดเป็น 1 record และจะใช้ field แรกเป็น key)
21.คำสั่ง su จะเปลี่ยนตนเองเป็น super userเพื่อใช้สิทธิสูงสุดในการบริหารระบบ
22.คำสั่ง tail จะแสดงส่วนท้ายของข้อมูลตามจำนวนบรรทัดที่ต้องการ
23.คำสั่ง touch สร้างไฟล์ที่ว่างเปล่าหรือปรับเปลี่ยนวันเวลาที่บันทึกลงบนไฟล์
24.คำสั่ง w ใช้แสดงว่าใครใช้งานอยู่บ้างขณะนั้น $ w
25.คำสั่ง whoami ใช้เพื่อแสดงว่าผู้ใช้ซึ่ง login เข้าสู่ระบบนั้น (ตัวเราเอง) login ด้วยชื่ออะไร
26.คำสั่ง who ใช้แสดงว่าใครใช้งานอยู่บ้างขณะนั้น$ who
27.คำสั่ง which
28.คำสั่ง wheveis ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใดแต่ค้นหาได้เฉพาะที่กำหนดไว้ใน pathเท่านั้นหากต้องการค้นหาที่เครื่องต้องใช้คำสั่ง find
..................................................................URL.............................................................................
คำสั่ง Unix ที่ใช้เป็นประจำ [Engine By iGetWeb.com] 4 พ.ค. 2008 ... คำสั่ง Unix ที่ใช้เป็นประจำ. ... ข้อควรระวัง : คำสั่ง cd บน UNIX จะต้องมีเว้น วรรคเสมอ ..... ใช้คำสั่ง Unix บน DOS/Windows ...psoc.igetweb.com/index.php?mo=3&art=139478 - 78k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน
การใช้งานคำสั่ง unix เบื้องต้น 4.Utilities คำสั่งต่างที่ทำงานได้บน ระบบงาน unix จึงทำให้ kernel มีขนาดเล็ก เพราะจะมีเฉพาะหน้าที่สำคัญเท่านั้น ประเภทของไฟล์ใน Unix ...www.jobpub.com/articles/showarticle.asp?id=89 - 54k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน
1.คำสั่ง man เป็นคำสั่งที่เป็นคู่มือการใช้คำสั่งแต่ละคำสั่งเช่น$ man ls$ man cp
2.คำสั่ง alias ใช้ย่อคำสั่งให้สั้นลง $ alias l = ls -l$ alias c = clear
3.คำสั่ง cal เป็นคำสั่งที่ใช้แสดง ปฏิทินของระบบ
4.คำสั่ง clear มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง cls ของ dos ใช้ลบหน้าจอ terminal ให้ว่าง$ clear
5.คำสั่ง cmp เปรียบเทียบไฟล์สองไฟล์
6.คำสั่ง cat มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง type ของ dos ใช้ดูข้อมูลในไฟล์ เช่น$ cat filename
7.คำสั่ง cut
8.คำสั่ง date ใช้แสดง วันที่ และ เวลา$ date 17 May 1999
9.คำสั่ง diff ใช้เปรียบเทียบไฟล์สองไฟล์ว่ามีความกว้างห้องต่างกันอย่างไร
10.คำสั่ง echo $ echo "Hello" ใช้แสดงข้อความ "Hello" ขนาดปกติ
11.คำสั่ง exit คำสั่งที่ใช้ในการออกจาก shell ที่เรกำลังใช้งานอยู่
12.คำสั่ง expv ประมวลคำจากสูตรคณิตศาสตร์
13.คำสั่ง find ใช้ค้นหาไฟล์ที่ต้องการ เช่น $ find /usr/bin -name "*sh" -print หาไฟล์ที่ลงท้ายด้วย sh จาก /usr/bin
14.คำสั่ง finger ใช้แสดงรายละเอียดของผู้ใช้
15.คำสั่ง grep ใช้คนหาข้อความที่ต้องการจากไฟล์ $ grep ข้อความ file
16.คำสั่ง head จะแสดงส่วนหัวของแฟ้มข้อมูล ตามจำนวนบรรทัดที่ต้องการ
17.คำสั่ง more แสดงข้อมูลทีละหน้าจอ อาจใช้ร่วมกับเครื่องหมาย pipe line ( ) หากต้องการดูหน้าถัดไป กด space ดูบรรทัดถัดไปกด Enter เช่น$ ls -la more$ more filename
18.คำสั่ง less เป็นการพัฒนาคำสั่ง more ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจาก more จะไม่สามารถดูข้อมูลย้อนหลังได้ less จึงเป็นปรับปรุงและเพิ่มเติมเงื่อนไขบางอย่างให้ more
19.คำสั่ง passwd เปลี่ยน passwovd คนทำงานปัจจุบัน
20.คำสั่ง sort ใช้เพื่อทำการจัดเรียงข้อมูลในแฟ้มตามลำดับ (ทั้งนี้จะถือว่าข้อมูลแต่ละบรรทัดเป็น 1 record และจะใช้ field แรกเป็น key)
21.คำสั่ง su จะเปลี่ยนตนเองเป็น super userเพื่อใช้สิทธิสูงสุดในการบริหารระบบ
22.คำสั่ง tail จะแสดงส่วนท้ายของข้อมูลตามจำนวนบรรทัดที่ต้องการ
23.คำสั่ง touch สร้างไฟล์ที่ว่างเปล่าหรือปรับเปลี่ยนวันเวลาที่บันทึกลงบนไฟล์
24.คำสั่ง w ใช้แสดงว่าใครใช้งานอยู่บ้างขณะนั้น $ w
25.คำสั่ง whoami ใช้เพื่อแสดงว่าผู้ใช้ซึ่ง login เข้าสู่ระบบนั้น (ตัวเราเอง) login ด้วยชื่ออะไร
26.คำสั่ง who ใช้แสดงว่าใครใช้งานอยู่บ้างขณะนั้น$ who
27.คำสั่ง which
28.คำสั่ง wheveis ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใดแต่ค้นหาได้เฉพาะที่กำหนดไว้ใน pathเท่านั้นหากต้องการค้นหาที่เครื่องต้องใช้คำสั่ง find
..................................................................URL.............................................................................
คำสั่ง Unix ที่ใช้เป็นประจำ [Engine By iGetWeb.com] 4 พ.ค. 2008 ... คำสั่ง Unix ที่ใช้เป็นประจำ. ... ข้อควรระวัง : คำสั่ง cd บน UNIX จะต้องมีเว้น วรรคเสมอ ..... ใช้คำสั่ง Unix บน DOS/Windows ...psoc.igetweb.com/index.php?mo=3&art=139478 - 78k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน
การใช้งานคำสั่ง unix เบื้องต้น 4.Utilities คำสั่งต่างที่ทำงานได้บน ระบบงาน unix จึงทำให้ kernel มีขนาดเล็ก เพราะจะมีเฉพาะหน้าที่สำคัญเท่านั้น ประเภทของไฟล์ใน Unix ...www.jobpub.com/articles/showarticle.asp?id=89 - 54k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน
วันอังคารที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2551
ตอบคำถามความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ UNIX
ข้อที่ 1 ประวัติความเป็นมาของ Unix
ประวัติความเป็นมาของ UNIX
• บริษัท AT&T ร่วมมือกับ AIT พัฒนาระบบ MULTICS ขึ้นมาในช่วงปี 1960
• MULTICS ทำท่าว่าจะไปไม่รอด AT&T จึงถอนตัวออกจากโครงการ
• นักพัฒนาของ AT&T จึงได้นำความรู้และปัญหาจากโครงการ MULTIC
พัฒนาระบบใหม่แล้วสร้างเป็นระบบปฏิบัติการขึ้นมา และใช้ชื่อว่า UNIX
• ในช่วงแรก UNIX ยังถูกใช้งานกับเครื่อง PDP-7 และ PDP-11 ของ AT&T เท่านั้น
• ในช่วงปี 1973 UNIX ถูกเขียนขึ้นมาใหม่ทั้งหมด โดยใช้ภาษา C ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนแปลงที่สำคัญมากที่สุดอย่างหนึ่งของ UNIX เพราะ
– ทำให้ UNIX สามารถนำไปใช้ได้กับเครื่องหลายชนิด
– แก้ไขระบบได้ง่ายกว่าระบบปฏิบัติการอื่นๆ ที่เขียนด้วยภาษา Assembly
– ราคาถูกลง
• AT&T แจก Code ของ UNIX ไปให้กับมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อหวังให้เป็นที่นิยมมากขึ้น แต่กลับทำให้เกิด UNIX ตัวใหม่ขึ้นมา เรียกว่า BSD UNIX (Berkeley Software Distribution UNIX) ซึ่งเขียนโดย University of California ที่ Berkeley ระบบ UNIX ตัวนี้แจกฟรี และกลายเป็น UNIX ที่ใช้กันอย่างกว้างขวางตัวหนึ่งโดยเฉพาะในมหาวิทยาลัย
• เมื่อเครื่อง PC มีความสามารถสูงขึ้นและราคาถูกลงทำให้เกิด UNIX ที่ใช้บน PC ขึ้นมาชื่อว่า XENIX
• ในช่วงกลางทศวรรษ 1980 ได้มีการพัฒนา X-window ขึ้นมา ทำให้การใช้งาน UNIX เริ่มมี Graphic User Interface
• AT&T ได้ทำการพัฒนา UNIX ของตนขึ้นมาเรื่อยๆ จนกระทั่งถึงรุ่น System V Release 4 (SVR4) AT&T ได้รวมข้อกำหนดและมาตรฐานต่างๆ ของ BSD UNIX และ XENIX เข้าไปด้วย ทำให้โปรแกรมที่ออกมาสำหรับ BSD UNIX และ XENIX สามารถนำไปใช้บน SVR4 ได้ ซึ่งส่งผลให้กลุ่มนักพัฒนาและบริษัทอื่นๆวิตกว่า AT&T จะผูกขาดการกำหนดมาตรฐานของ UNIX จึงได้รวมตัว
• ในจัดตั้ง Open Software Foundation (OSF) ขึ้นมาเพื่อวิจัยและกำหนดมาตรฐานต่างๆ ของระบบ UNIX ขึ้นมาป้องกันการผูกขาดของ AT&T
ข้อที่ 2 คุณสมบัติของ Unix
คุณสมบัติของระบบ UNIX
• Software Tool
– โปรแกรมบน UNIX จะแบ่งตัวเองออกเป็นส่วนย่อยๆ และสามารถใช้งานส่วนย่อยเหล่านั้นร่วมกัน ระหว่างหลายๆ โปรแกรมได้
• Portability
– เนื่องจาก UNIX สามารถนำไปใช้กับเครื่องแบบต่างๆ ได้มากมาย โปรแกรมที่ใช้งานบน UNIX จะสามารถนำไปใช้ได้ด้วยเช่นเดียวกัน
• Flexibility
– UNIX มีความยืดหยุ่นในการใช้งานสูง สามารถนำไปใช้กับงานเล็กๆ หรืองานใหญ่ๆ ก็ได้
• Power
– สามารถทำงานที่ซับซ้อนได้ดี และมีความสามารถในด้านต่างๆ มากกว่าระบบปฏิบัติการอื่นๆ
• Multi-user & multitasking
– สามารถมีผู้ใช้งานได้ทีละหลายๆคน และทำงานหลายๆ อย่างพร้อมกัน
• Elegance
– หลักการทำงานของส่วนต่างๆ จะเหมือนกัน ดังนั้นเมื่อผู้ใช้ทำงานส่วนหนึ่งได้ ก็จะเรียนรู้และใช้งานส่วนอื่นๆ ได้ง่าย
• Network Orientation
– UNIX เป็นระบบปฏิบัติการที่สนับสนุนการใช้งานเครือข่าย โดยเฉพาะเครือข่าย TCP/IP ซึ่งใช้ในระบบ Internet
1. ฮาร์ดแวร์ หมายถึงอุปกรณ์หรือทุกชิ้นส่วนของคอมพิวเตอร์ ที่เราสามารถจับต้องได้ เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เม้าส์ ดิสด์ไดรซ์ ซีดีรอม เป็นต้น
2. ยูนิกซ์ เคอร์เนล คอร์เนล จะทำหน้าที่ควบคุมการทำงานทั้งหมดของระบบ ได้แก่ การจัดสรรทรัพยากร การจัดการข้อมูลบริการหน่วยความจำซึ่งเคอร์เนลนี้จะขึ้นกับฮาร์ดแวร์ เช่น ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงฮาร์ดแวร์ เคอร์เนลนี้ก็จะถูกเปลี่ยนไปด้วย เป็นต้น
ข้อที่ 4 เซลล์
เซลล์
เซลล์ คือ ตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับตัวเคอร์เนล ทำหน้าที่รับคำสั่งจากผู้ใช้ แล้วนำไปแปลเป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจเราเรียกอีกอย่างหนึ่งได้ว่า command interpreter แต่ถ้ามีการนำ เซลล์หลาย ๆ ตัวมาเขียนรวมกัน (คล้าย ๆ กับ batch file ในระบบปฏิบัติการ DOS) เราจะเรียกว่า เซลล์สคริปต์ นอกจากนี้
เซลล์ (Shell) ยังมีอีกหลาย ๆ ประเภท แต่ที่นิยมกันได้แก่
* Bourne shell (sh) เป็นเซลล์ต้นแบบของทุก ๆ เชลล์ มีความสามารถในการเขียน เซลล์สคริปต์ได้ด้วย
* C shell (csh) เป็นเซลล์ที่สร้างหลัง Bourne shell ความสามารถพิเศษของ C shell คือเก็บข้อมูลเกี่ยวกับคำสั่งที่เคยใช้
* Korn shell (ksh) ซึ่งพัฒนาโดย AT&T โดยได้นำคุณสมบัติเด่น ๆ ของ Bourne shell และC shell มารวมกัน
* Bourne again shell (bash) มีคุณสมบัติและความสามารถคล้ายกับ Korn shell แต่ shell นี้ถูกสร้างขึ้นมาใช้สำหรับแจกฟรี ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทาง Linux นำมาใช้คำสั่งที่ทำให้ทราบว่าเราใช้งาน
เซลล์อะไรอยู่คือ echo $SHELL
Shell (command Interpreter)
...ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับ Kernel
...แปลคำสั่งจากผู้ใช้
...คำสั่งสามารถนำมาเขียนเป็นชุดคำสั่งให้ทำงานเรียกว่า Shell script
...กำหนดทิศทางการเข้าออกของ Input/Output
shell ที่นิยมใช้
...Bourne Shell มีโครงสร้างคล้ายภาษา ALGOL มีเครื่องหมายเตรียมพร้อมเป็น $
...C Shell เป็นเชลล์ที่มีไวยากรณ์คล้ายภาษา Cมีเครื่องหมายเตรียมพร้อมเป็น %
...Korn Shell เป็นเชลล์ที่การทำงานมีลักษณะโต้ตอบ และ Kernel มีขนาดใหญ่กว่าเชลล์อื่น
URL
UNIX
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLAT&T แจก Code ของ UNIX ไปให้กับมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อหวังให้เป็นที่นิยมมากขึ้น แต่กลับทำให้เกิด UNIX ตัวใหม่ขึ้นมา เรียกว่า BSD UNIX (Berkeley Software ...www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt - หน้าที่คล้ายกัน
ภาพนิ่ง 1
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLยูนิกซ์ (Unix แต่ชื่อตามเครื่องหมายการค้าคือ UNIX) เป็นระบบปฏิบัติการ ... 1982 AT&T นำยูนิกซ์ 7 มาพัฒนาและออกขายในชื่อ Unix System III แต่บริษัทลูก ...eclassnet.kku.ac.th/etraining/file/1220294266-unix.ppt - หน้าที่คล้ายกัน
อานันท์ สีห์พิทักษ์เกียรติ
รูปแบบไฟล์: PDF/Adobe Acrobat - แสดงเป็นแบบ HTMLtemp: directory. unix.ppt: data. unixbig.ppt: data. vbrun300.dl_: data ..... - rwxr-xr-x. 1 arnan. users 45270 Jan 11 13:01 unix.ppt* ...www.spu.ac.th/forum/vishakan/unix.pdf - หน้าที่คล้ายกัน
Slide 1
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLระบบปฏิบัติการ UNIX มีต้นกำเนิดจากห้องปฏิบัติการวิจัย Bell ... 1978 Version 7 ก็ ถูกพัฒนาออกมา ซึ่งเป็นต้นแบบของระบบ UNIX รุ่นใหม่ๆ หลังจากนั้น AT&T ...202.28.94.51/users/apisak/322361/2548/Test_Assign_Page.files/Data_REPORT/Group11_OS_Support/group11.ppt - หน้าที่คล้ายกัน
PowerPoint Presentation
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTML2) UNIX มีชุดของคำสั่งที่มีประสิทธิภาพจำนวนมาก ซึ่งคำสั่งเหล่านี้สามารถนำมารวม กัน (เรียกว่า script) เพื่อแก้ปัญหาได้สะดวกขึ้น ...www.bangna.ru.ac.th/CT104/CT105%20บทที่%207(10กย.51).ppt - หน้าที่คล้ายกัน
งานนำเสนอ PowerPoint
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLกลุ่ม ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ UNIX ได้แก่ PC-compatible Macintosh และ PowerPC-Based PCs ... Operating System:OS เช่น DOS,Microsoft Windows, Unix, Linux ...yalor.yru.ac.th/~sirichai/4000108/chapter3-software.ppt - หน้าที่คล้ายกัน
Microsoft PowerPoint - 6FileManagement.ppt
รูปแบบไฟล์: PDF/Adobe Acrobat - แสดงเป็นแบบ HTML3 ตัว สวนในระบบ Unix หรือ Linux จะสามารถตั้งไดไมเกิน 255 ตัว .... ในระบบ Linux, Unix จะมีการตรวจสอบไฟลที่เปน i-node ตอนที่เปดเครื่อง ...www.kairat.com/course-ssru/os1/6FileManagement.pdf - หน้าที่คล้ายกัน
TCP/IP Socket Programming
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLปกติระบบ UNIX จะเก็บ port ที่ถูกใช้งานในแฟ้มข้อมูล /etc/services. Socket. socket : คู่ของ IP address และหมายเลข port ...www.cs.utk.edu/~angskun/stuff/socket_t.ppt - หน้าที่คล้ายกัน
ประวัติความเป็นมาของ UNIX
• บริษัท AT&T ร่วมมือกับ AIT พัฒนาระบบ MULTICS ขึ้นมาในช่วงปี 1960
• MULTICS ทำท่าว่าจะไปไม่รอด AT&T จึงถอนตัวออกจากโครงการ
• นักพัฒนาของ AT&T จึงได้นำความรู้และปัญหาจากโครงการ MULTIC
พัฒนาระบบใหม่แล้วสร้างเป็นระบบปฏิบัติการขึ้นมา และใช้ชื่อว่า UNIX
• ในช่วงแรก UNIX ยังถูกใช้งานกับเครื่อง PDP-7 และ PDP-11 ของ AT&T เท่านั้น
• ในช่วงปี 1973 UNIX ถูกเขียนขึ้นมาใหม่ทั้งหมด โดยใช้ภาษา C ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนแปลงที่สำคัญมากที่สุดอย่างหนึ่งของ UNIX เพราะ
– ทำให้ UNIX สามารถนำไปใช้ได้กับเครื่องหลายชนิด
– แก้ไขระบบได้ง่ายกว่าระบบปฏิบัติการอื่นๆ ที่เขียนด้วยภาษา Assembly
– ราคาถูกลง
• AT&T แจก Code ของ UNIX ไปให้กับมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อหวังให้เป็นที่นิยมมากขึ้น แต่กลับทำให้เกิด UNIX ตัวใหม่ขึ้นมา เรียกว่า BSD UNIX (Berkeley Software Distribution UNIX) ซึ่งเขียนโดย University of California ที่ Berkeley ระบบ UNIX ตัวนี้แจกฟรี และกลายเป็น UNIX ที่ใช้กันอย่างกว้างขวางตัวหนึ่งโดยเฉพาะในมหาวิทยาลัย
• เมื่อเครื่อง PC มีความสามารถสูงขึ้นและราคาถูกลงทำให้เกิด UNIX ที่ใช้บน PC ขึ้นมาชื่อว่า XENIX
• ในช่วงกลางทศวรรษ 1980 ได้มีการพัฒนา X-window ขึ้นมา ทำให้การใช้งาน UNIX เริ่มมี Graphic User Interface
• AT&T ได้ทำการพัฒนา UNIX ของตนขึ้นมาเรื่อยๆ จนกระทั่งถึงรุ่น System V Release 4 (SVR4) AT&T ได้รวมข้อกำหนดและมาตรฐานต่างๆ ของ BSD UNIX และ XENIX เข้าไปด้วย ทำให้โปรแกรมที่ออกมาสำหรับ BSD UNIX และ XENIX สามารถนำไปใช้บน SVR4 ได้ ซึ่งส่งผลให้กลุ่มนักพัฒนาและบริษัทอื่นๆวิตกว่า AT&T จะผูกขาดการกำหนดมาตรฐานของ UNIX จึงได้รวมตัว
• ในจัดตั้ง Open Software Foundation (OSF) ขึ้นมาเพื่อวิจัยและกำหนดมาตรฐานต่างๆ ของระบบ UNIX ขึ้นมาป้องกันการผูกขาดของ AT&T
ข้อที่ 2 คุณสมบัติของ Unix
คุณสมบัติของระบบ UNIX
• Software Tool
– โปรแกรมบน UNIX จะแบ่งตัวเองออกเป็นส่วนย่อยๆ และสามารถใช้งานส่วนย่อยเหล่านั้นร่วมกัน ระหว่างหลายๆ โปรแกรมได้
• Portability
– เนื่องจาก UNIX สามารถนำไปใช้กับเครื่องแบบต่างๆ ได้มากมาย โปรแกรมที่ใช้งานบน UNIX จะสามารถนำไปใช้ได้ด้วยเช่นเดียวกัน
• Flexibility
– UNIX มีความยืดหยุ่นในการใช้งานสูง สามารถนำไปใช้กับงานเล็กๆ หรืองานใหญ่ๆ ก็ได้
• Power
– สามารถทำงานที่ซับซ้อนได้ดี และมีความสามารถในด้านต่างๆ มากกว่าระบบปฏิบัติการอื่นๆ
• Multi-user & multitasking
– สามารถมีผู้ใช้งานได้ทีละหลายๆคน และทำงานหลายๆ อย่างพร้อมกัน
• Elegance
– หลักการทำงานของส่วนต่างๆ จะเหมือนกัน ดังนั้นเมื่อผู้ใช้ทำงานส่วนหนึ่งได้ ก็จะเรียนรู้และใช้งานส่วนอื่นๆ ได้ง่าย
• Network Orientation
– UNIX เป็นระบบปฏิบัติการที่สนับสนุนการใช้งานเครือข่าย โดยเฉพาะเครือข่าย TCP/IP ซึ่งใช้ในระบบ Internet
ข้อที่ 3 โครงสร้างของ Unix
โครงสร้างของ Unix
ระบบปฏิบัติการ Unix สามารถแบ่งโครงสร้างหลัก ๆ ได้ 4 ระดับ แต่ละระดับก็จะทำหน้าที่ต่างกัน
1. ฮาร์ดแวร์ หมายถึงอุปกรณ์หรือทุกชิ้นส่วนของคอมพิวเตอร์ ที่เราสามารถจับต้องได้ เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เม้าส์ ดิสด์ไดรซ์ ซีดีรอม เป็นต้น
2. ยูนิกซ์ เคอร์เนล คอร์เนล จะทำหน้าที่ควบคุมการทำงานทั้งหมดของระบบ ได้แก่ การจัดสรรทรัพยากร การจัดการข้อมูลบริการหน่วยความจำซึ่งเคอร์เนลนี้จะขึ้นกับฮาร์ดแวร์ เช่น ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงฮาร์ดแวร์ เคอร์เนลนี้ก็จะถูกเปลี่ยนไปด้วย เป็นต้น
ข้อที่ 4 เซลล์
เซลล์
เซลล์ คือ ตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับตัวเคอร์เนล ทำหน้าที่รับคำสั่งจากผู้ใช้ แล้วนำไปแปลเป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจเราเรียกอีกอย่างหนึ่งได้ว่า command interpreter แต่ถ้ามีการนำ เซลล์หลาย ๆ ตัวมาเขียนรวมกัน (คล้าย ๆ กับ batch file ในระบบปฏิบัติการ DOS) เราจะเรียกว่า เซลล์สคริปต์ นอกจากนี้
เซลล์ (Shell) ยังมีอีกหลาย ๆ ประเภท แต่ที่นิยมกันได้แก่
* Bourne shell (sh) เป็นเซลล์ต้นแบบของทุก ๆ เชลล์ มีความสามารถในการเขียน เซลล์สคริปต์ได้ด้วย
* C shell (csh) เป็นเซลล์ที่สร้างหลัง Bourne shell ความสามารถพิเศษของ C shell คือเก็บข้อมูลเกี่ยวกับคำสั่งที่เคยใช้
* Korn shell (ksh) ซึ่งพัฒนาโดย AT&T โดยได้นำคุณสมบัติเด่น ๆ ของ Bourne shell และC shell มารวมกัน
* Bourne again shell (bash) มีคุณสมบัติและความสามารถคล้ายกับ Korn shell แต่ shell นี้ถูกสร้างขึ้นมาใช้สำหรับแจกฟรี ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทาง Linux นำมาใช้คำสั่งที่ทำให้ทราบว่าเราใช้งาน
เซลล์อะไรอยู่คือ echo $SHELL
Shell (command Interpreter)
...ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับ Kernel
...แปลคำสั่งจากผู้ใช้
...คำสั่งสามารถนำมาเขียนเป็นชุดคำสั่งให้ทำงานเรียกว่า Shell script
...กำหนดทิศทางการเข้าออกของ Input/Output
shell ที่นิยมใช้
...Bourne Shell มีโครงสร้างคล้ายภาษา ALGOL มีเครื่องหมายเตรียมพร้อมเป็น $
...C Shell เป็นเชลล์ที่มีไวยากรณ์คล้ายภาษา Cมีเครื่องหมายเตรียมพร้อมเป็น %
...Korn Shell เป็นเชลล์ที่การทำงานมีลักษณะโต้ตอบ และ Kernel มีขนาดใหญ่กว่าเชลล์อื่น
URL
UNIX
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLAT&T แจก Code ของ UNIX ไปให้กับมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อหวังให้เป็นที่นิยมมากขึ้น แต่กลับทำให้เกิด UNIX ตัวใหม่ขึ้นมา เรียกว่า BSD UNIX (Berkeley Software ...www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt - หน้าที่คล้ายกัน
ภาพนิ่ง 1
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLยูนิกซ์ (Unix แต่ชื่อตามเครื่องหมายการค้าคือ UNIX) เป็นระบบปฏิบัติการ ... 1982 AT&T นำยูนิกซ์ 7 มาพัฒนาและออกขายในชื่อ Unix System III แต่บริษัทลูก ...eclassnet.kku.ac.th/etraining/file/1220294266-unix.ppt - หน้าที่คล้ายกัน
อานันท์ สีห์พิทักษ์เกียรติ
รูปแบบไฟล์: PDF/Adobe Acrobat - แสดงเป็นแบบ HTMLtemp: directory. unix.ppt: data. unixbig.ppt: data. vbrun300.dl_: data ..... - rwxr-xr-x. 1 arnan. users 45270 Jan 11 13:01 unix.ppt* ...www.spu.ac.th/forum/vishakan/unix.pdf - หน้าที่คล้ายกัน
Slide 1
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLระบบปฏิบัติการ UNIX มีต้นกำเนิดจากห้องปฏิบัติการวิจัย Bell ... 1978 Version 7 ก็ ถูกพัฒนาออกมา ซึ่งเป็นต้นแบบของระบบ UNIX รุ่นใหม่ๆ หลังจากนั้น AT&T ...202.28.94.51/users/apisak/322361/2548/Test_Assign_Page.files/Data_REPORT/Group11_OS_Support/group11.ppt - หน้าที่คล้ายกัน
PowerPoint Presentation
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTML2) UNIX มีชุดของคำสั่งที่มีประสิทธิภาพจำนวนมาก ซึ่งคำสั่งเหล่านี้สามารถนำมารวม กัน (เรียกว่า script) เพื่อแก้ปัญหาได้สะดวกขึ้น ...www.bangna.ru.ac.th/CT104/CT105%20บทที่%207(10กย.51).ppt - หน้าที่คล้ายกัน
งานนำเสนอ PowerPoint
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLกลุ่ม ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ UNIX ได้แก่ PC-compatible Macintosh และ PowerPC-Based PCs ... Operating System:OS เช่น DOS,Microsoft Windows, Unix, Linux ...yalor.yru.ac.th/~sirichai/4000108/chapter3-software.ppt - หน้าที่คล้ายกัน
Microsoft PowerPoint - 6FileManagement.ppt
รูปแบบไฟล์: PDF/Adobe Acrobat - แสดงเป็นแบบ HTML3 ตัว สวนในระบบ Unix หรือ Linux จะสามารถตั้งไดไมเกิน 255 ตัว .... ในระบบ Linux, Unix จะมีการตรวจสอบไฟลที่เปน i-node ตอนที่เปดเครื่อง ...www.kairat.com/course-ssru/os1/6FileManagement.pdf - หน้าที่คล้ายกัน
TCP/IP Socket Programming
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLปกติระบบ UNIX จะเก็บ port ที่ถูกใช้งานในแฟ้มข้อมูล /etc/services. Socket. socket : คู่ของ IP address และหมายเลข port ...www.cs.utk.edu/~angskun/stuff/socket_t.ppt - หน้าที่คล้ายกัน
วันอังคารที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2551
คำอธิบายรายวิชาและ e-learning
รหัสวิชา :4121402
ชื่อวิชาภาษาไทย :ระบบปฏิบัติการ 2
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ :Operating Systems 2
คำอธิบายรายวิชา: ศึกษาหน้าที่และการดำเนินงานของระบบปฏิบัติการ เกี่ยวกับจัดการหน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง การจัดแฟ้มข้อมูล หน่วยรับและแสดงผลข้อมูลในลักษณะของผู้ใช้คนเดียว งานเดียว และใช้หลายคนหลายงานพร้อมกัน รวมทั้งการสื่อสารระหว่างขบวนการ (Interprocess Communication : IPC)
URL Website
http://bkk.vru.ac.th/it/itbd_sub.htm
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ศูนย์กรุงเทพมหานคร
http://www.cs45mcru.com/modules.php?name=History&file=explain
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง จ.ราชบุรี
http://mis.pkru.ac.th/syllabus/view_syllabus.php?id=61
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
http://202.29.21.6/~bangkom/bindex.htm
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
http://academic.pcru.ac.th/index/course/7_12.htm
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
http://cs.mcru.ac.th/modules.php?name=History&file=explain
ที่มา : มรภ.หมู่บ้านจอมบึง จังหวัดราชบุรี
http://cptd.chandra.ac.th/index.php?Content=subject47
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
http://www.nsru.ac.th/computer/curriculum/subject.php?id=4121402&course_id=3
ที่มา : มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค์
http://reg.nida.ac.th/registrar/program_info_1.asp?f_cmd=2&levelid=23&programid=10000314&facultyid=4&departmentname=%BB%C3%D1%AA%AD%D2%B4%D8%C9%AE%D5%BA%D1%B3%B1%D4%B5+(%C7%D4%B7%C2%D2%A1%D2%C3%A4%CD%C1%BE%D4%C7%E0%B5%CD%C3%EC)&programname=%BB%C3%D1%AA%AD%D2%#current
ที่มา : สถาบันบัณฑิตบริหารศาสตร์
http://www.yonok.ac.th/burin/os/os00.htm
ที่มา : มหาวิทยาลัยโยนก
http://202.143.169.83/moodle/course/info.php?id=16
ที่มา : มหาวิทยาลัยสารพัดช่างอุทัยธานี
http://tabian.kpru.ac.th/cur/cur2.asp?Code=4122402
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
e-learning
ระบบปฏิบัติการ
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ การจัดการเกี่ยวกับโพรเซส (Process Management) การจัดการหน่วยความจำ (Memory Management) การจัดการเกี่ยวกับอินพุต-เอาต์พุต (Input/Output Management) การจัดการเกี่ยวกับแฟ้ม (File Management) และการป้องกันและรักษาความปลอดภัยของระบบปฏิบัติการ (Protection and Security)
URL Website
http://202.143.169.83/moodle/course/category.php?id=4
ที่มา : วิทยาลัยสารพัดช่างอุทัยธานี
http://www.yonok.ac.th/
ที่มา : วิทยาลัยโยนก จังหวัดลำปาง
http://202.28.82.91/classroom/courses/OPERATINGSYSTEMS2/document/OS2_CourseOutline.pdf?cidReq=OPERATINGSYSTEMS2
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
http://e-learning.yru.ac.th/e-learning/course/info.php?id=58
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
http://www.pvc.ac.th/course/course/category.php?id=2
ที่มา : วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่
http://kkst2006.com/content/view/31/67/1/1/
ที่มา : อารย์สุนทร แก้วเรือง
http://payamand.212cafe.com/archive/2008-06-17/os-2
ที่มา : ดร.ยรรยง เต็งอำนวย
http://www.mwit.ac.th/~cs/download/it40101/software.doc
ที่มา : โดยอาจารย์อ
http://202.143.148.60/glossary/index.php?option=com_glossary&func=display&letter=O&Itemid=2&catid=3&page=1
ที่มา : พจนานุกรมออนไลน์โรงเรียนครูราษฏ์รังสกฤษฏ์
http://www.siamtech.ac.th/Learning/metta/Drem/2.htm
http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/os_2/dev.htm
http://haruthai.exteen.com/20080822/entry-3
ชื่อวิชาภาษาไทย :ระบบปฏิบัติการ 2
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ :Operating Systems 2
คำอธิบายรายวิชา: ศึกษาหน้าที่และการดำเนินงานของระบบปฏิบัติการ เกี่ยวกับจัดการหน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง การจัดแฟ้มข้อมูล หน่วยรับและแสดงผลข้อมูลในลักษณะของผู้ใช้คนเดียว งานเดียว และใช้หลายคนหลายงานพร้อมกัน รวมทั้งการสื่อสารระหว่างขบวนการ (Interprocess Communication : IPC)
URL Website
http://bkk.vru.ac.th/it/itbd_sub.htm
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ศูนย์กรุงเทพมหานคร
http://www.cs45mcru.com/modules.php?name=History&file=explain
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง จ.ราชบุรี
http://mis.pkru.ac.th/syllabus/view_syllabus.php?id=61
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
http://202.29.21.6/~bangkom/bindex.htm
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
http://academic.pcru.ac.th/index/course/7_12.htm
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
http://cs.mcru.ac.th/modules.php?name=History&file=explain
ที่มา : มรภ.หมู่บ้านจอมบึง จังหวัดราชบุรี
http://cptd.chandra.ac.th/index.php?Content=subject47
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
http://www.nsru.ac.th/computer/curriculum/subject.php?id=4121402&course_id=3
ที่มา : มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค์
http://reg.nida.ac.th/registrar/program_info_1.asp?f_cmd=2&levelid=23&programid=10000314&facultyid=4&departmentname=%BB%C3%D1%AA%AD%D2%B4%D8%C9%AE%D5%BA%D1%B3%B1%D4%B5+(%C7%D4%B7%C2%D2%A1%D2%C3%A4%CD%C1%BE%D4%C7%E0%B5%CD%C3%EC)&programname=%BB%C3%D1%AA%AD%D2%#current
ที่มา : สถาบันบัณฑิตบริหารศาสตร์
http://www.yonok.ac.th/burin/os/os00.htm
ที่มา : มหาวิทยาลัยโยนก
http://202.143.169.83/moodle/course/info.php?id=16
ที่มา : มหาวิทยาลัยสารพัดช่างอุทัยธานี
http://tabian.kpru.ac.th/cur/cur2.asp?Code=4122402
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
e-learning
ระบบปฏิบัติการ
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ การจัดการเกี่ยวกับโพรเซส (Process Management) การจัดการหน่วยความจำ (Memory Management) การจัดการเกี่ยวกับอินพุต-เอาต์พุต (Input/Output Management) การจัดการเกี่ยวกับแฟ้ม (File Management) และการป้องกันและรักษาความปลอดภัยของระบบปฏิบัติการ (Protection and Security)
URL Website
http://202.143.169.83/moodle/course/category.php?id=4
ที่มา : วิทยาลัยสารพัดช่างอุทัยธานี
http://www.yonok.ac.th/
ที่มา : วิทยาลัยโยนก จังหวัดลำปาง
http://202.28.82.91/classroom/courses/OPERATINGSYSTEMS2/document/OS2_CourseOutline.pdf?cidReq=OPERATINGSYSTEMS2
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
http://e-learning.yru.ac.th/e-learning/course/info.php?id=58
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
http://www.pvc.ac.th/course/course/category.php?id=2
ที่มา : วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่
http://kkst2006.com/content/view/31/67/1/1/
ที่มา : อารย์สุนทร แก้วเรือง
http://payamand.212cafe.com/archive/2008-06-17/os-2
ที่มา : ดร.ยรรยง เต็งอำนวย
http://www.mwit.ac.th/~cs/download/it40101/software.doc
ที่มา : โดยอาจารย์อ
http://202.143.148.60/glossary/index.php?option=com_glossary&func=display&letter=O&Itemid=2&catid=3&page=1
ที่มา : พจนานุกรมออนไลน์โรงเรียนครูราษฏ์รังสกฤษฏ์
http://www.siamtech.ac.th/Learning/metta/Drem/2.htm
http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/os_2/dev.htm
http://haruthai.exteen.com/20080822/entry-3
แนะนำตัวเอง
ชื่อ:นางสาวรัตนา โทศก
ชื่อเล่น: ตัวเล็ก
รหัสประจำตัวนักศึกษา: 5012252129
เพื่อนสนิท: นางสาวกาญจนา วิเศษหมื่น เบอร์โทร 087-2619350
นางสาวพัชรี วิเศษหมื่น เบอร์โทร 081-3654743
URL (blog):http://Rattana555.blogspot.com
ชื่อblog: Lek's blog
E-Mail : mailto:hRattana_ts@thaimail.com
เบอร์โทรศัพท์ของตัวเล็ก:087-6555315
ชื่อเล่น: ตัวเล็ก
รหัสประจำตัวนักศึกษา: 5012252129
เพื่อนสนิท: นางสาวกาญจนา วิเศษหมื่น เบอร์โทร 087-2619350
นางสาวพัชรี วิเศษหมื่น เบอร์โทร 081-3654743
URL (blog):http://Rattana555.blogspot.com
ชื่อblog: Lek's blog
E-Mail : mailto:hRattana_ts@thaimail.com
เบอร์โทรศัพท์ของตัวเล็ก:087-6555315
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)